การเขียนพัฒนาโปรเเกรมมีขั้นตอนการพัฒนาอย่างเป็นลำดับ 5 ขั้นตอนดังนี้

2.1 การวิเคราะห์ปัญหา

1.การวิเคราะห์ปัญหา เป็นขั้นตอนของการศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นของระบบงานปัจจุบัน เพื่อกำหนดขอบเขตของปัญหา เเละกำหนดความต้องการของระบบงานใหม่ จะต้องมีการศึกษาความเป็นไปได้ในการเเก้ปัญหา ดังนี้

 1.ความเป็นไปได้ด้านเทคนิค คือ การตรวจสอบฮาร์เเวร์เเละซอฟเเวร์ ที่ใช้ในระบบงานเดิมว่ามีคุณสมบัติเพียงพอกับงานใหม่หรือไม่

2.ความเป็นไปได้ด้านบุคคล คือ การตรวจสอบว่าในหน่วยงานมีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาหรือใช้งานระบบได้หรือไม่

3.ความเป็นไปได้ด้านเศรษฐศาสตร์ คือ การตรวจสอบค่าใช้จ่ายเเละระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนาระบบ

2.2 การออกเเบโปรเเกรม

การออกเเบโปรเเกรม เป็นการนำผลที่ได้จากการวิเคราะห์มาออกเเบโปรเเกรม โดยอาศัยเครื่องมือต่างๆเข้ามาช่วย เครื่องมือในการออกเเบบที่นิยมได้เเก่ ผังงาน เเละรหัสจำลอง

2.3 การเขียนโปรเเกรม

การเขียนโปรเเกรม การนำผลที่ได้จากการออกเเบบโดยเเผนผังงานหรือรหัสจำลองมาเเปลงเป็นคำสั่งของโปรเเกรมในภาษาของคอมพิวเตอร์

2.4 การทดสอบโปรเเกรม 

การทดสอบโปรเเกรม  เป็นขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของการทำงาน เเละตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้เขียนโปรเเกรม โดยทั่วไปข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการเขียนโปรเเกรมมี 3 ชนิด ดังนี้

1. ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ เป็นข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนภาษาคอมพิวเตอร์ไม่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์

2.ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นขณะรันโปรเเกรม เป็นข้อผิดพลาดที่เเสดงขณะรันโปรเเกรม ส่วนใหญ่เกิดจากการคำนวณตัวเลข

3.ข้อผิดพลาดทางตรรกะ เมือตรวจสอบข้อผิดพลาดทางไวยากร์เเละข้อผิดพลาดที่ขณะรันโปรเเกรมเเล้วไม่พบข้อผิดพลาดใดๆ

2.5การจัดทำเอกสารประกอบ 

การจัดการทำเอกสารประกอบ  หมาายถึง การเตรียมเอกสารอธิบายโปรเเกรม ซึ่งมีความสำคัญเเละควรทำอย่างต่อเนื่องหลังจากการพัฒนาโปรเเกรม โดยทั่วไปเอกสารที่จัดทำมีอยู่ 2 ประเภท คือ คู่มือผู้ใช้   เเละคู่มือนักเขียนโปรเเกรมเมอร์

 

มาตรฐาน

ใส่ความเห็น